รสแห่งกาพย์กลอนไทยมี ๔ รส
๑. เสาวรจนีย์ (บทชมโฉม) คือ การเล่าชมความงามของตัวละครในเรื่อง ซึ่งอาจเป็นตัวละครที่เป็นมนุษย์ อมนุษย์ หรือสัตว์ซึ่งการชมนี้อาจจะเป็นการชมความเก่งกล้าของกษัตริย์ ความงามของปราสาทราชวังหรือความเจริญรุ่งเรืองของบ้านเมือง เช่น บทชมโฉมนางมัทมา โดยท้าวชัยเสนรำพันไว้ ในวรรคดีเรื่องมัทนะพาธา
๒. นารีปราโมทย์ (บทเกี้ยว โอ้โลม) คือการกล่าวข้อความแสดงความรัก ทั้งที่เป็นการพบกันในระยะแรกๆ และในโอ้โลมปฏิโลมก่อนจะถึงบทสังวาสนั้นด้วย
๓. พิโรธวาทัง (บทตัดพ้อ) คือการกล่าวข้อความแสดงอารมณ์ไม่พอใจ ตั้งแต่น้อยไปจนมากจึงเริ่มตั้งแต่ไม่พอใจโกรธ ตัดพ้อ ประชดประชัน กระทบกระเทียบเปรียบเปรย เสียดสี และด่าว่าอย่างรุนแรง
๔. สัลลาปังคพิไสย (บทโศก) คือการกล่าวข้อความแสดงอารมณ์โศกเศร้า อาลัยรัก บทโศกของ นางวันทอง ซึ่งคร่ำครวญอาลัยรักต้นไม่ในบางขุนช้าง อันแสดงให้เห็นว่านางไม่ต้องการตามขุนแผนไป แต่ที่ต้องไปเพราะขุนแผนร่ายมนต์สะกดก่อนลานางได้ร่ำลาต้นไม้ก่อนจากไป จากเรื่องขุนช้างขุนแผน ตอนขุนแผนพานางวันทองหนี
This comment has been removed by the author.
ReplyDeleteเนื้อหาน่าสนใจค่ะสวยงามค่ะ
ReplyDeleteมีสาระน่าสนใจมากครับ
ReplyDeleteเนื้อหาน่าสนใจมากค่ะ
ReplyDeleteเนื้อหามีสาระน่าสนใจมากค่ะ สวยงามด้วยค่ะ
ReplyDeleteเกร็ดความรู้น่าสนมากค่ะ มีประโยชน์มากทำให้ผู้อ่านได้รับความรู้มากมายค่ะ
ReplyDeleteอ่านแล้วได้รับประโยชน์และความรู้มากค่ะ
ReplyDeleteน่าสนใจมากค่ะ
ReplyDeleteสาระดีมากๆครับ...~~
ReplyDeleteเป็นเว
ReplyDeleteเป็นเว็บไซต์ที่น่าสนใจมากค่ะ
เนื้อหามีสาระ มีประโยชน์ต่อการเรียนรู้ๆมากๆจร้า
ReplyDeleteThis comment has been removed by the author.
ReplyDeleteได้รับความรู้มากๆครับ
Deleteเนื้อหาดีเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่านมากเลยคะ
ReplyDeleteน่าสนใจมากครับ
ReplyDeleteเนื้อหามีประโยชน์มากเลย
ReplyDelete